แนวคิดที่มา

การประยุกต์ใช้ประโยชน์ของสิ่งประดิษฐ์
  • เพื่อใช้ตรวจสอบการปนเปื้อนของสุกรในอาหาร สามารถใช้ได้กับวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์อาหารที่แปรรูปจากเนื้อสัตว์ เช่น เนื้อทอด ไส้กรอก หรือซุปก้อนที่มีเนื้อหมูผสมเพียงเล็กน้อย อีกทั้งยังสามารถตรวจสอบได้ที่ระดับต่ำสุด เนื้อหมูต่อองค์ประกอบอื่นในอาหาร 1/5000 โดยน้ำหนัก และสามารถตรวจสอบเนื้อที่ผ่านกระบวนการปรุงมาแล้ว เช่น เนื้อหมูทอดหรือซุปก้อนที่มีเนื้อสุกรปนเปื้อนน้อย

จุดเด่นของสิ่งประดิษฐ์
  • สามารถใช้ทดสอบผลิตภัณฑ์ที่มีการปนเปื้อนของเนื้อสุกรในปริมาณที่น้อย
  • ใช้งานง่าย มีความสะดวกรวดเร็วและมีความจำเพาะ
  • ใช้ได้ทั้งในและนอกห้องปฏิบัติการ

กลุ่มลูกค้าเป้าหมายของผลิตภัณฑ์
  • กลุ่มโรงงานที่ผลิตอาหารฮาลาล
  • ห้องปฏิบัติการที่รับทดสอบหาการปนเปื้อนของสุกรในอาหาร
  • ประชาชนที่ไม่รับประทานเนื้อสุกร

กลุ่มลูกค้าเป้าหมายของผลิตภัณฑ์
  • กลุ่มโรงงานที่ผลิตอาหารฮาลาล
  • ห้องปฏิบัติการที่รับทดสอบหาการปนเปื้อนของสุกรในอาหาร
  • ประชาชนที่ไม่รับประทานเนื้อสุกร

กลุ่มนักลงทุนเป้าหมาย
  • ผู้ผลิตชุดทดสอบ

ความร่วมมือที่เสาะหา
  • อนุญาตใช้สิทธิ และถ่ายทอดเทคโนโลยี

เงื่อนไขการอนุญาตใช้สิทธิ
  • ติดต่อสอบถามเงื่อนไขการอนุญาตใช้สิทธิ

นางพจชนาถ พัทบุรี
สำนักเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการทดสอบ
นายอุทัย ไทยเจริญ
สำนักเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการทดสอบ



แชร์เรื่องราว
ติดต่อสอบถามเกี่ยวกับโครงการ